Thursday, September 27, 2018

Resistance to mainstreaming gender into the higher education curriculum

Taking into account the increased research on the status of women and on gender concerns which lead to question the stereotyped assumptions about gender elations and the roles and responsibilities of men and women, the study determined the gender mainstreaming in the General Education and Professional Education Courses in one Higher Education Institution in the Philippines where there were 21 participants interviewed through two sets of focus group discussion. The result of the study showed that there is an apparent inclusion of gender and development in General Education and Professional Education Courses which can be categorized into explicit or implicit integration. Moreover, there were variety of teaching strategies and materials used in integrating Gender and Development (GAD).





 It ranges from film showing followed by critical discussions, research output presentations, role-play, class discussions, art analysis, literary analysis, and lecture/forum of an expert. From the employed strategies and materials, it articulates the meaning of GAD that men and women must be provided with equal opportunities to realize their full potentials. Such articulation, however, requires committed interpretation especially from the faculty members. From there, it gives students an awareness and to an extent of self-interpretations. The university can further help in GAD initiatives by defining the university’s GAD framework so as to integrate GAD in the level of the curriculum, research, extension, planning, materials, policies, and budget.

Tuesday, August 16, 2016

Our latest article


Our paper on sustainable development by mining multinational corporations in Mekong countries is now published in the latest issue of "Journal of Business and Policy Research."

In this paper, we argue that contributions by mining MNCs in the form of economic and social development can be done successfully with the strong social license to operate by local stakeholders (both formal and informal groups). More importantly, local actors can influence the core CSR values and CSR directions by mining MNCs.

This is the link to the article.




Sunday, August 7, 2016

Mining and Women in Laos: The Corporate Report

Mining is often considered in masculine terms. Men work in mines. Men drive trucks. Men make decisions about development and resources. In fact, women and communities face the immediate impact of mining activity and are increasingly powerful in employment and other socio-economic decisions around mining. Women’s voices are important.
A new report on Mining and Women in Laos and Thailand (Edited by Nattavud Pimpa, RMIT University, 2015) highlights the many implications of mining on women in Laos (Sepon mine) and Thailand. In this region overall, mining has brought positive benefits for women’s economic, social, and political participation. According to the report, more women are employed, have money to spend, have decision-making power within and outside of households, and are attending village meetings (80% are female) as a direct impact of local mining. At Sepon mine in Savannakhet, women make up 25% of the mine’s workforce in various positions; 40% hold managerial roles and about 27% of truck operators are women. At the peak of its operation capacity, Sepon mine was the second largest employer in the Lao PDR after the public sector. Household incomes have increased tenfold since Sepon commenced operations in 2003. Mine salaries accrue to hundreds of millions of dollars, much of which is reinvested back into local businesses, building real wealth for communities. With increasing spending power, the rate of children going to schools also increases. But, due to the increased pressure and demands from work, mining can also impact on women’s health. Along with positive development, social challenges are inevitable.




Echoing the findings in the report, Vilabouly community representatives, Ms Nui Oumahath and Ms Houa Soulaseun, who live in the surrounding community to the Sepon mine, agree mining has brought benefits, and also have clear expectations.
“The mine has brought us benefits—we have work, our own business, and a good income to raise our family,” said Ms Houa.
“We hope the company provides women with a range of training such as accounting, management, and English language so women can easily find work when the mine closes,” said Ms Nui Oumahath.

Since operations commenced in 2002, MMG LXML Sepon (LXML) has contributed over US$1.3 billion in direct revenue to the Lao Government through taxes, royalties and dividends. Other development programs provide opportunities for women and the community: 

LXML has successfully developed local employees – 94% are Lao and 25% are women. The company’s employment policy acknowledges the benefits of encouraging diversity. Sepon offers preferential recruitment of local people, which helps maintain the support of local communities. On top of this, we provide training and development to employees in various disciplines, scholarships to Australia, and on-the-job training to build future Lao professionals.

LXML has launched interventions to support women. In response to family needs, rosters were shortened from 28/14 days to 14/7 days, providing breaks and quality time with family. The fatigue management policy gives employees the right to inform supervisors and rest when they feel tired. Employees are entitled to a free annual health check-up and access to gym and sporting facilities to ensure they are physically fit, and to ensure mental wellbeing. Through the Employee Assistance Program(EAP) employees can also seek advice on personal and work issues. At LXML, we think safety first and care for the well-being of our employees and host communities. 
LXML works in close cooperation with the government and other development partners on community development programs to lay the foundation for a successful post-mine economy. 
“Our approach is founded on a deep respect for community aspirations and genuine development benefits, particularly for women and children,” said Mr Suresh Vadnagra, General Manager, MMG LXML Sepon. 
Key community development programs supporting women and children include: 
Improved maternal and child health through the ‘1,000 Day Project’.MMG LXML Sepon is extending a unique US$1.5M partnership with the Lao Ministry of Health, the Lao Women’s Union and UNICEF to address maternal and child malnutrition. The project has reached 180,000 children under five, 67,000 children under two; and trained more than one thousand employees of the Lao Women’s Union. MMG has allocated an additional US$1.4 million for a second phase of the project, which will reach an additional 135,000 children in vulnerable districts, including in Savannakhet Province (Phine, Sepon, Nong).
LXML invested US$270,000 on a Mother and Child Health project with the Burnet Institute between 2008 and 2011. 2016 also marks the 12th year of LXML’s support to the Annual Lao Paediatric Conference, organised by Health Frontiers, with the aim of improving paediatric health care by sharing best practice. LXML has provided extensive support to Vilabouly District Hospital, Savannakhet Hospital, and Mittaphab Hospital in Vientiane including purchasing ambulances, new wards, water supply systems, incubators for premature births, and other essential medical equipment. 
Improved sanitation through access to clean water systems. LXML has invested millions of dollars in water systems in close partnership with the Lao Government, local contract partners, and the United Nations. In February 2016, LXML opened a US$1.5 million clean water supply system in Vilabouly district. The project will benefit 7,000 people in four villages close to Sepon mine who now have year-round access to clean water.  
Improved livelihood through access to basic services. In close consultation with the community leaders in 42 villages, LXML has invested millions of dollars in the Village Development and Community Trust Fund to build schools, roads, latrines, fish ponds, and potable water, benefiting more than 14,000 people. “Now going to the toilet is easier and more convenient. And it is clean!” said Mrs Ketkeo Bounpasong and her family members from Nahoy village, Vilabouly district.  
Improved income generating opportunities. LXML’s business development programs aim to diversify income opportunities, create a climate for new businesses to flourish, and assist building sustainable livelihoods for the community beyond mine closure. LXML’s purchases of US$3 million (75% of its fruits, vegetables, and local produce) through 26 local businesses, have delivered a combined income over US$18 millionsince the mine commenced. In cooperation with Netherlands Development Organisation (SNV), LXML has increased rice yields for 1,300 farmersthrough improved farming methods and rice varieties. LXML is also investing in high value agriculture development by supporting the development of a citrus industry in Vilabouly through an Australian company –Ironbark—with 20 years’ experience exporting Mandarins from Australia.  
Improved access to credit and savings services. In cooperation with GIZ and AUSAID, LXML established microfinance facilities supporting 47 villages and 3,200 participating members with US$775,000 in savings and over US$450,000 in current loans.  
LXML is working with all stakeholders to ensure the benefits from Sepon mine are shared with surrounding communities to provide women with greater economic and social opportunities.

Tuesday, May 3, 2016

เหมืองแร่และแม่หญิง...อีกมุมของเหมือง


ท่ามกลางความร้อนระอุของการลงพื้นที่ในเขตชุมชนเหมืองแร่ของ รัฐมนตรีว่าการสามกระทรวง ประกอบด้วย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมด้วยอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ ในฐานะผู้แทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สังคมเฝ้าจับตามองผลที่จะเกิดขึ้นจากการลงพื้นที่ของผู้ใหญ่ในบ้านเมืองคราวนี้ 

การลงสำรวจพื้นที่บริเวณเหมืองแร่ทองคำของบริษัท อัครา รีซอร์สเซส จำกัด (มหาชน)ในเขตจังหวัดพิจิตร เพื่อร่วมกันพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริงของปัญหาผลกระทบจากการทำเหมืองทองคำ ของสามกระทรวงเมื่อช่วงสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา เป็นไปตามคำสั่งของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เนื่องจากมีการเรียกร้องของชาวบ้านในเขตทับคล้อ และ เขาเจ็ดลูกในเรื่องผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่เกิดขึ้นอันน่าจะมาจากการขุดเหมืองทองในเขตชุมชน

ในฐานะที่ผมเป็นนักวิจัยที่นำทีมวิจัยลงพื้นที่สำรวจประเด็นด้านอุตสาหกรรมเหมืองแร่ในเขตชุมชนนี้มาชั่วเวลาหนึ่ง ผมขอเสนอมุมมองทางวิชาการที่น่าสนใจในเรื่อง “ผลกระทบของเหมืองแร่ที่มีต่อสตรี”  ในชุมชนนี้ เนื่องจาก ประเด็นด้านผลกระทบทางสังคมของอุตสาหกรรมเหมืองแร่ที่มีต่อบุคคลหลากกลุ่ม ที่นอกเหนือจากด้านสุขภาพนั้น ยังไม่ได้รับการพูดถึงมากนักในสื่อและงานวิจัยในประเทศไทย โดยข้อมุลจากการเขียนบทความนี้ ผมและคณะวิจัยจากมหาวิทยาลัยอาร์เอ็มไอที (Royal Melbourne Institute of Technology) แห่งประเทศออสเตรเลีย สถาบันประชากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ลงพื้นที่ในช่วงปีที่ผ่านมาและพูดคุยกับตัวแทนจากบริษัท ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน รวมไปถึงเอ็นจีโอในชุมชนเหมืองแร่



ประเด็นที่หนึ่ง: อุตสาหกรรมเหมืองแร่และการจ้างแรงงานสตรี

อุตสาหกรรมเหมืองแร่นับได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมระหว่างประเทศที่ได้รับการจับตามองและวิพากษ์มากที่สุด ทั้งนี้เนื่องมาจากขนาดของอุตสาหกรรม รูปแบบการลงทุนที่มักจะเป็นการร่วมทุนกันระหว่างบริษัทระหว่างประเทศ และ ผลกระทบจากอุตสาหกรรมทั้งในด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพต่อชุมชน

ในกรณีของเหมืองแร่ชาตรีนั้นเป็นรูปแบบการรวมทุนของบริษัทอัครารีซอสเซสและบริษัทคิงส์เกตจากออสเตรเลีย โดยที่บริษัทอัครานั้นได้รับสัมปทานการทำเหมืองแร่ทองคำที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยเหมืองแร่ชาตรีนั้นกินอาณาเขตของพื้นที่ในเขตจังหวัดพิจิตรและเพชรบูรณ์

ประเด็นทางสังคมประเด็นสำคัญที่บริษัทเหมืองแร่ข้ามชาติในทุกประเทศได้รับการวิจารณ์มากคือ รูปแบบและวิธีการจ้างงาน และผลกระทบของอุตสาหกรรมที่มีต่อคนหลากกลุ่ม เช่น ชนพื้นเมือง กลุ่มผู้ด้อยโอกาส เด็กและสตรีในพื้นถิ่น โดยผลกระทบที่เห็นชัดคือลักษณะงานในอุตสาหกรรมนี้มีความเป็น ’ชาย’ และ  ‘ชนกลุ่มใหญ’ ค่อนข้างชัดเจน และอาจทำให้ผู้ด้อยโอกาสยิ่งขาดโอกาสมากทวีขึ้น ยกตัวอย่างเช่นในประเทศออสเตรเลีย ที่ผู้เขียนทำงานและพำนักอยู่ เป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับอุตสาหกรรมเหมืองแร่มาก ทว่า ยังมีรายงานด้านความไม่เท่าเทียมกันในการจ้างงานและโอกาสในการได้รับผลประโยชน์จากเหมืองแร่ระหว่างเพศชายและหญิง และพบตัวเลขที่น่าตกใจคือ มีผู้หญิงที่สามารถขึ้นไปสู่ตำแหน่งในผู้บริหารระดับสูงของอุตสาหกรรมนี้เพียง 2.6% และ มีผู้หญิงเพียง 16% เท่านั้นทำงานในอุตสาหกรรมหลักของประเทศเช่นนี้ (Australian Government, 2015)  ความเท่าเทียมระหว่างชายหญิงในอุตสาหกรรมเหมืองแร่จึงเป็นประเด็นใหญ่ในหลายประเทศที่ต้องเฝ้าระวัง

หันกลับมามอง ในบริบทของชุมชนเหมืองแร่ในพิจิตรและพิษณุโลกนั้น ทางบริษัทมีนโยบายในเรื่องของความเท่าเทียมกันในการจ้างงานและมีการส่งเสริมให้สุภาพสตรีเข้าสู่กระบวนการจ้างงานในตำแหน่งที่หลากหลาย ในอดีตนั้นผู้หญิงอาจจะถูกจำกัดบทบาทของตนให้อยู่แค่ในสำนักงานและทำงานเอกสารให้กับบริษัท แต่ทีมวิจัยพบว่ามีผู้หญิงที่ทำงานในลักษณะงานที่ต้องใช้กายภาพเทียบเท่ากับเพศชายมากขึ้น เช่น ขับรถขนแร่ วิศวกรเหมืองแร่ หรือ งานบริหารชุมชนสัมพันธ์เป็นต้น การส่งเสริมบทบาทให้ผู้หญิงมีความหลากหลายในการทำงานนั้นช่วยให้พวกเธอมีความมั่นใจ และ รู้สึกว่าตนเองมีความเท่าเทียมกันกับทุกคนในองค์กร อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาทีมผู้บริหารของบริษัทเราพบผู้หญิงเพียงหนึ่งคนในบทบาทด้านบัญชีและผู้บริหารชายถึงห้าคนจากจำนวนผุ้บรหารทั้งหมดของบริษัท

ประเด็นหนึ่งที่เราพบในการลงพื้นที่คือ มีสมาชิกในชุมชนซึ่งอยู่ในพื้นที่มานาน แต่ขาดคุณวุฒิทางการศึกษา หรือ ทักษะในการทำงานที่เหมาะสม คนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง เนื่องจากค่านิยมที่ส่งเสริมผู้ชายให้มีโอกาสทางการศึกษามากกว่าหญิงในหลายครอบครัว สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้พวกเธอรู้สึกว่าไม่ได้รับโอกาสในการทำงานในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ที่เกิดขึ้นในชุมชนของพวกเธอ พวกเธอมักกล่าวในทำนองตัดพ้อว่าบริษัทเลือกเอาคนนอกพื้นที่มาทำงานเพราะเขาหรือเธอมีปริญญาบัตร การตัดโอกาสในการจ้างงานอาจทำให้สมาชิกในชุมชนหลายคนไม่พอใจและ ประเด็นเหล่านี้อาจทับถมในใจของชาวบ้านมาชั่วระยะเวลาหนึ่งในด้านความเท่าเทียมและโอกาสทางเศรษฐกิจ

ประเด็นที่สอง เหมืองแร่ทองคำกับผลกระทบต่อโอกาสทางเศรษฐกิจของสตรี

จากการลงพื้นที่และพูดคุยกับชุมชน เราพบว่า ข้อมูลในเรื่องของผลกระทบของเหมืองแร่ที่มีต่อโอกาสในชีวิตนั้น เป็นข้อ   มุลกระแสหลักที่ชาวบ้านในชุมชนกล่าวถึง แน่นอนว่าประเด็นเรื่องโอกาสทางเศรษฐกิจตามที่ได้กล่าวข้างต้นนั้นมีผลกระทบต่อผู้หญิงและผู้ชายในชุมชน การได้รับโอกาสเข้าทำงานในบริษัทเหมืองแร่ และการมีรายได้ประจำจากการทำงานกับบริษัทดูจะเป็นสิ่งที่ชาวบ้านหลายคนต้องการ เพราะนั่นหมายถึงสถานะทางสังคม และ โอกาสที่เพิ่มขึ้นในชีวิต

โอกาสในการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของผู้หญิงในชุมชนนับได้ว่าเป็นประเด็นที่สมาชิกชุมชนและตัวแทนจากทางบริษัทกล่าวถึง ยกตัวอย่างเช่น ในโครงการชุมชนสัมพันธ์หรือพัฒนาชุมชนนั้น บริษัทจำเป็นต้องมีกองทุนหมู่บ้านในรูปแบบต่างๆและการจัดการเงินจำนวนที่ต่างกันในแต่ละหมู่บ้าน เพื่อลงสู่กลุ่มสมาชิกชุมชนต่างๆ รวมถึงผู้หญิง โอกาสเช่นนี้ เป็นการสร้างมูลค่าทางสังคมและเศรษฐกิจให้กับผู้หญิงหลายคนในชุมชนเหมืองแร่ที่พิจิตร ผู้หญิงหลายคนกลายมาเป็นผู้นำกลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น เย็บผ้า กสิกรรม เลี้ยงสัตว์ หัตถกรรม โดยเงินที่ใช้ดำเนินการมาจากโครงการต่างๆของบริษัทเหมืองแร่

อย่างไรก็ตามมีผุ้หญิงและสมาชิกในชุมชนอีกหลายกลุ่มที่วิพากษ์ว่า กระบวนการจัดสรรเงินเพื่อเข้าสู่ชุมชนนั้น มีผู้ชายเป็นผู้นำ ทั้งในระดับหมู่บ้าน และ ตำบล และมักจะผ่านผู้ใหญ่บ้าน และ นายก อบต ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นเพศชาย การที่ผุ้หญิงไม่สามารถเข้าไปมีเสียงอย่างเต็มที่ในกระบวนการการจัดสรรทรัพยากรนั้น อาจนำไปสู่ การพัฒนาจากมุมมองของชายเท่านั้น เช่นผู้หญิงสามารถทำได้แค่หัตถกรรม เย็บผ้า ปลูกผัก ในขณะที่ความต้องการที่แท้จริงของผุ้หญิงอาจจะไม่ได้รับการตอบสนองเนื่องจากการไร้ตัวแทนเพศหญิงที่เข้มแข็งในชุมชน นอกจากนี้ความเท่าเทียมกันในจำนวนเงินที่จัดสรรให้แต่ละหมู่บ้าน และ การเข้าถึงกองทุนหมู่บ้าน ล้วนถูกกล่าวถึงโดยสตรีหลากกลุ่มในทุกหมู่บ้าน กล่าวได้ว่า เหมืองแร่มีผลกระทบต่อโอกาสในชีวิตของผู้หญิงทั้งบวกและลบ


ประเด็นที่สาม เหมืองแร่ทองคำกับบทบาททางการเมืองและครอบครัวของสตรี

ความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทเหมืองแร่กับชุมชนนั้นมีความซับซ้อนเนื่องจากบทบาทที่ทับซ้อนของเหมืองแร่ต่อหมู่บ้านต่างๆ คนงาน ผุ้นำชุมชน องค์กรทางการปกครอง เช่น อบต และ เอ็นจีโอ กล่าวได้ว่าลักษณะความสัมพันธ์นั้นเป็นในเชิง ‘ทั้งรักทั้งเกลียด’ (love-hate relationship) นั่นคือ ชุมชนมองเห็นความสำคัญของการมีอยู่ของเหมืองแร่ เพราะนั่นคือการเปลี่ยนชีวิตและวิถีชุมชน แต่ผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรและผลประโยชน์จากเหมืองแร่ และ อำนาจทางเศรษฐกิจและการเมืองของบริษัทก็ล้วนแต่สร้างความแคลงใจของชุมชนต่อเหมืองแร่

ประเด็นที่น่าสนใจคือ ผู้นำในการการต่อสู้กับเหมืองแร่ในด้าน สุขภาพ และ สิ่งแวดล้อม ล้วนแล้วแต่เป็นผุ้หญิง ที่เคยทำงานกับบริษัทเหมืองแร่ พวกเธอบอกว่าความเป็นหญิงทำให้ระดับความรุนแรงในการต่อสู้ไม่ดุเดือดจนเกินไป พวกเธอมองว่าการใช้ความเป็นสตรีมาต่อสู้กับบริษัท จะทำให้ปฏิกริยาจากทางบริษัทไม่สามารถถึงขั้นรุนแรงได้ในระดับที่น่ากลัว พวกเธอไม่ต้องการให้ผุ้ชายในครอบครัวลุกขึ้นมาต่อสู้เพราะเกรงว่าปฏิกริยาตอบจากฝ่ายตรงข้ามอาจดุเดือดถึงขั้นอันตราย ดังนั้นเราจึงอนุมานได้ว่าการมีอยู่ของบริษัทเหมืองแร่มีความสัมพันธ์กับบทบาทในการต่อสู้ทางการเมืองของผู้หญิงในชุมชน (Pimpa and Moore, 2015)

นอกจากนี้สตรีหลายคนที่มองตนในฐานะเพศแม่ ให้ข้อมูลว่า การมีอยู่ของเหมืองในทศวรรษที่ผ่านมาทำให้ลูกๆของพวกเธอกลับมาจากกรุงเทพมหานครและสามารถมาใช้ชีวิตแบบครอบครัวใหญ่ได้อีกครั้ง เพราะโอกาสในทางเศรษฐกิจและการศึกษาเปิดกว้างขึ้นสำหรับลูกและหลานของพวกเธอ 


บทสรุป

บทบาทของบริษัทเหมืองแร่นั้นมีความสลับซับซ้อนและหลากมิติ องค์กรทางธุรกิจ เช่น บริษัทเหมืองแร่นั้น มีหน้าที่ที่สำคัญคือการผลิตและสร้างผลกำไร อย่างไรก็ตามทฤษฎีทางธุรกิจด้านการจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อธุรกิจ (Stakeholder Theory, Freeman 1984) สามารถนำมาอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในชุมชนเหมืองแร่แห่งนี้ได้ ความหลากหลายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความคาดหวังและความต้องการของแต่ละกลุ่มย่อมต่างกัน ดังนั้น การจัดการทรัพยากรและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมในการทำเหมืองแร่โดยบริษัทเหมืองแร่นั้นจำเป็นที่จะต้องมีการจัดการอย่างต่อเนื่องโดยกลุ่มบุคคลอันหลากหลาย สมาชิกทุกภาคส่วนในชุมชนต้องมีเสียงในการจัดการทรัพยากรในชุมชน

ปัญหาเรื้อรังด้านผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่เกิดขึ้นในเวลานี้ จำเป็นต้องได้รับการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตรโดยองค์กรที่มีความเป็นกลาง และ ต้องให้ความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย โดยอาศัยผลทางวิทยาศาตร์เป็นตัวตั้ง มากกว่าผลลัพธ์ทางการเมือง

อย่างไรก็ตามผลกระทบทางสังคมที่เกิดจากอุตสาหกรรมเหมืองแร่นั้น อาจจะไม่สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาตรวจสอบได้ทั้งหมด ดังนั้นกระบวนการทางสังคมศาสตร์ที่อาศัยผู้เชี่ยวชาญหลากด้านของสังคมจึงเป้นสิ่งที่จำเป็นต้องกระทำอย่างต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาชุมชนอันเป้นมรรคผล และ เพื่อป้องกันปัญหาที่หมักหมมตามทีเกิดขึ้นในปัจจุบัน 
 อ้างอิง
Australian Government (2015), Gender Equality Spotlight: Mining, Interim Report, Canberra. Also available at: https://www.wgea.gov.au/wgea-newsroom/gender-equality-spotlight-mining
Freeman, E. (1984), Strategic Management: A stakeholder approach. Boston: Pitman
Pimpa, N. and Moore, T. (2015), Kingsgate’s Thai mine a lesson in failed community management, The Conversation, Australia. Also available at: http://theconversation.com/kingsgates-thai-mine-a-lesson-in-failed-community-management-37588
เกี่ยวกับผู้เขียน: รศ.ดร. ณัฐวุฒิ พิมพา เป็นอาจารย์และนักวิจัยด้านการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ ณ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอาร์เอ็มไอที (Royal Melbourne Institute of Technology) ประเทศออสเตรเลีย โดยเน้นงานวิจัยเรื่องธุรกิจระหว่างประเทศและความเสมอภาคระหว่างชายและหญิงในออสเตรเลียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ งานวิจัยเรื่องเหมืองแร่และสตรีในประเทศไทยและลาวฉบับนี้ได้รับเงินอุดหนุนวิจัยจากกระทรวงการต่างประเทศและการค้าแห่งประเทศออสเตรเลีย และสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://seabiz.asia
Published in Prachathai: http://prachatai.com/journal/2016/05/65576

Saturday, November 7, 2015

Mining and Women Forum in Bangkok (1)

On 21-22 October 2015, we organised a public forum to disseminate key findings from this project to all stakeholders. We are impressed by the participation from the Department of Foreign Affairs and Trade, Department of Education from the Australian Government, MMG company and Vilabouly community representatives. We also gathered with research team from the National University of Laos, Mahidol University, and delegates from Rajamongkol University. 

 The first day of the forum was filled with key findings from the research project. We started with the concept of mining and women. The literature on mining and women from international development, business and management and gender studies were compared and examined. We confirmed to the audiences that roles of women in mining industry are tremendous and that point has to be widely and openly discussed among key stakeholders in mining in all countries, including Lao and Thailand.

Three important aspects of the influence of mining on women were presented and discussed among participants. They include (1) economics and employment issues, (2) health impacts, and (3) educational provision. From the project we learnt that these three impacts can be positively and negatively influence life and well-being of women in the mining community.

 One key output from this project is a book on mining and women in Laos and Thailand, which is contributed by all team members and edited by Associate Professor Nattavud Pimpa, principal investigator of the project. The book included key points from the research on mining and employment, switched gender-roles of women in mining in Laos, and health and education consequences of mining industry. 
 

Tuesday, October 20, 2015

Mining and Women in Lao PDR and Thailand Forum

On 21-22 October 2015, our team will organise a public forum to disseminate findings from the project on mining and women in Lao PDR and Thailand. The key focus of the forum will include:
- Socio-economic impacts of mining in Vilabouly and Tabklor Mining communitites;
- Mining and its effect on women;
- Mining and economic empowerment for women and girls;
- Mining and health and education influence on women; and
- Mining and gender-specific roles in modern Lao and Thai contexts.


The event will be held at the Sukosol Hotel and will be well attended by delegates from the Australian Department of Foreign Affairs and Trade, Mining Companies from Lao PDR and Thailand, researchers from Australian, Lao and Thai universities, and policy makers.
Please contact nattavud.pimpa@rmit.edu.au for registration.

Tuesday, August 18, 2015

75th Academy of Management (2)

Our project presentation at the academy of management meeting went very well. The presentation was well attended and discussed by various academics from 'social issues in management' division of the academy. The key questions from the audiences include:

1) What are they roles mining MNCs play in promoting and empowering women in rural area?
2) Are there any other health, environmental and human rights impacts on women?
3) What are the process in employing women in Thailand and Laos to work in mining MNCs? What positions? What roles?
4) What will be the future of women in mining industry?

These questions are related to what we have been doing in the last two years in Laos and Thailand. We hope that our report will also confirm some points on women engagement in mining industry.

                                                      Paper Discussion with the audiences



We also met with representatives from key journals and publishing companies (such as Business & Society, Asia Pacific Journal of Management, and Greenleaf publishing) to discuss potential publications of our project in the forms of book, book chapter and journal articles with them. Issues on editorial process and the selection of publishing process were discussed and I learnt a number of new ideas on this important aspect of our project.



                                         Working with Colleagues at the Academy of Management


                                          Prof. Mintzberg at the Academy of Management

                                                                        Our Session 

                                     Speech by the President of the Academy of Management 

I am delighted with the interactions with (and connections from) various international researchers at the academy of management. One strong message that I learnt from this conference is we (academics and practitioners) need to improve our work on management responsibility with younger generations. We can advocate our ideas through education and learning as well as various other social gatherings and arenas. Most researchers in our area believe that research and education on social responsibility must be embedded in various elements and levels of education.

                                                View from Vancouver Convention Centre

                                              View from Vancouver Convention Centre